สถิติ
เปิดเมื่อ19/06/2012
อัพเดท17/08/2013
ผู้เข้าชม59265
แสดงหน้า88353
สินค้า
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    




ค่า ORAC Score Viva น้ำผลไม้องุ่นสกัดเข้มข้น

อ่าน 5207 | ตอบ 2


ORAC Score คืออะไร

ORAC Score หรือคะแนนโอแรค ย่อมาจาก Oxygen Radical Absorbance Capacity เป็นคะแนนที่ได้จากการทดลองหาค่าความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของอาหารจากห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ กรรมวิธี และกระบวนการในการตรวจหาค่า ORAC Score ของอาหารแต่ละชนิดให้เป็นวิธีมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับ ในระดับนานาชาติ โดยสถาบันที่มีชื่อเสียง และได้รับการยอมรับระดับโลกว่าเป็นสถาบันที่เชี่ยวชาญในด้านการตรวจสอบสารต้านอนุมูลอิสระ จนได้รับสิทธิบัตรในการตรวจสอบค่า ORAC Score คือ Brunswick Laboratories ซึ่งค่าที่ได้สามารถเป็นบรรทัดฐานในการประเมินประสิทธิภาพของอาหารแต่ละชนิดที่มีความสามารถในการต่อต้านอนุมูลอิสระ

อาหารที่มีค่า ORAC Score สูง แสดงว่ามีประสิทธิภาพการยับยั้งอนุมูลอิสระได้ดีขึ้นการทำความเข้าใจกับค่า ORAC Score จะช่วยให้ไม่ถูกหลอกลวงให้ซื้อผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้รับมาตรฐาน ซึ่งเป็นประโยชน์กับผู้บริโภคในการเลือกสรรผลิตภัณฑ์ในการดูแลสุขภาพอย่าง แท้จริง ***ขอแนะนำทางเลือกใหม่สำหรับผู้ที่ต้องการดูแลสุขภาพได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องกังวลว่าจะเกิดปัจจัยเสี่ยงดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ขอนำเสนอผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่จะทำให้คุณได้รับประโยชน์เช่นเดียวกับดื่มไวน์แดง คือ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจากองุ่นสกัดเข้มข้นผสมผลไม้รวมเพื่อสุขภาพเพียงวันละปรากฏการณ์ใหม่ที่คุณต้องสัมผัสด้วยตัวคุณเอง 1 ออนซ์ (2 ช้อนโต๊ะ) เทียบเท่าได้กับการดื่มไวน์แดงถึง 15 ขวด 

การทำความเข้าใจกับค่า ORAC Score จะช่วยให้ไม่ถูกหลอกลวงให้ซื้อผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้รับมาตรฐาน ซึ่งเป็นประโยชน์กับผู้บริโภคในการเลือกสรรผลิตภัณฑ์ในการดูแลสุขภาพอย่าง แท้จริง

อนุมูลอิสระ (Free radical) คือ ตัวการทำลายความสมดุลของเซลล์ต่างๆ ในร่างกายอย่างต่อเนื่องไม่สิ้นสุด ทำให้เซลล์ต่างๆเสื่อมสภาพ แม้กระทั่ง DNA หรือสารพันธุกรรม ล้วนแล้วแต่ถูกโจมตีโดยอนุมูลอิสระประมาณวันละ 10,000 ครั้ง ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาที่รุนแรงต่อสุขภาพ โดยเซลล์ที่ถูกทำลายจากอนุมูลอิสระจะไม่สามารถซ่อมแซมตัวเองก่อนที่จะมีการแบ่งตัว จึงเป็นสาเหตุของโรคร้ายกว่า 100 ชนิดที่ไม่อาจรักษาหาย เช่น โรคเบาหวาน, โรคหลอดเลือดหัวใจ, เลนส์ตาเสื่อม, การอักเสบของข้อต่อ, เซลล์สมองถูกทำลาย ทำให้เกิดโรคพาร์คินสัน (Parkinson’s) และอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s Disease) ฯลฯ และเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดมะเร็งทุกชนิด

โดยกลไกของอนุมูลอิสระที่ส่งผลเสียต่อเซลล์ในร่างกายของเรา เกิดขึ้นเนื่องจากตามปกติโมเลกุลต่างๆ ล้วนแล้วแต่จะต้องมีอิเล็กครอนล้อมรอบเป็นจำนวนคู่ จึงจะสามารถคงสภาพอยู่ได้อย่างสมดุล และไม่เป็นอันตรายใดๆ แต่โมเลกุลของอนุมูลอิสระจะขาดอิเล็กตรอนไป 1 ตัว จึงจะพยายามหาให้ครบคู่ โดยการไปดึงมาจากเซลล์ในร่างกาย เมื่อเซลล์ขาดความสมดุลและเกิดอย่างต่อเนื่องจะส่งผลให้เสียเซลล์ต่อในร่างกาย ตามที่กล่าวมาข้างต้น

แหล่งที่มาของอนุมูลอิสระที่สร้างปัญหาให้กับร่างกายคนเราเกิดจาก

1.       ภายในร่างกาย เช่น กระบวนการหายใจ
2.       สภาพแวดล้อมต่างๆได้แก่ แสงแดด รังสี UV มลพิษในอากาศ ฝุ่น ควันบุหรี่ แอลกอฮอล์และความเครียด เป็นต้น

เมื่อมีตัวร้ายก็ต้องมีพระเอกที่จะคอยกำจัดอนุมูลอิสระดังกล่าว ซึ่งก็คือสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ซึ่งจะทำหน้าที่ไปจับกับอนุมูลอิสระแล้วจ่ายอิเล็กตรอนให้กับอนุมูลอิสระ ทำให้เกิดความเสถียร ยับยั้งไม่ให้ไปทำลายเซลล์ต่างๆของร่างกาย

โดยปกติแล้วร่างกายคนเรามีกลไกในการกำจัดอนุมูลอิสระ คือ เอนไซม์ต่างๆในร่างกาย เพียงแต่มีในปริมาณที่จำกัด ไม่เพียงพอ จำเป็นต้องได้รับอาหารเสริมจากภายนอก ซึ่งก็คือ อาหารที่ต้องรับประทานให้ครบ 5 หมู่ และเน้นการรับประทานผักและผลไม้หลากสี ในปริมาณวันละ 400 กรัม เพื่อให้ร่างกายได้รับสารต้านอนุมูลอิสระอย่างเพียงพอ แต่ในปัจจุบันด้วยสภาพแวดล้อม วิถีชีวิต และพฤติกรรมการบริโภคของคนส่วนใหญ่ ส่งผลให้ได้รับปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในปริมาณที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ทางเลือกในการดูแลสุขภาพด้วยผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ จึงเป็นวิธีที่เหมาะสำหรับวิถีชีวิตของคนในปัจจุบัน



ความคิดเห็น :
1
อ้างอิง

น้องยาใจ
 ขอบคุณสำหรับข้อมูลน่ะค่ะ  พึ่งรู้ว่า สิ่งที่สำคัญ ในการดื่่มน้ำผลไม้ให้ได้ประโยชน์ ต้องดูที่ค่า ORCA Score เป็นสิ่งสำคัญค่ะ
 
น้องยาใจ [180.183.11.xxx] เมื่อ 19/06/2012 15:49
2
อ้างอิง
ขอบคุณมากครับสำหรับ ข้อมูลดีๆ ครับ
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : http://www.mitviva.com/index.php?option=com_content&view=article&id=58&Itemid=81
mitviva [61.19.245.xxx] เมื่อ 22/06/2012 08:44
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :